สำนักงานบัญชี.COM » หลักทรัพย์ในความต้องการของตลาด คือ ( Marketable securities )
10 ธันวาคม 2019 20 กุมภาพันธ์ 2024
หลักทรัพย์ในความต้องการของตลาด
สภาพคล่องทางการเงิน ถือเป็นหัวใจหลักของการประกอบกิจการ เพราะไม่เพียงแต่ทำให้กิจการสามารถดำเนินกิจกรรมภายในต่างๆได้อย่างราบรื่นเท่านั้น แต่สภาพคล่องของกิจการยังเป็นปัจจัยหลักที่นักลงทุนส่วนใหญ่นำมาประกอบการพิจารณาความสามารถในการบริหารและการดำเนินงาน อีกทั้งเป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งเสริมให้สถานะทางการเงินของธุรกิจมีภาพลักษณ์ที่ดี มีความมั่นคงและมีเสถียรภาพในสายตานักลงทุน ดังนั้น ดังนั้น หากจะประเมินสภาพคล่องของกิจการ ก็ต้องประเมินที่ความสามารถในการจ่ายหนี้ระยะสั้นของกิจการ
โดยคำนวณจากสูตร อัตราส่วนวัดสภาพคล่อง (Liquidity Ration) = สินทรัพย์หมุนเวียน / หนี้สินหมุนเวียน
ซึ่งตัวแปรที่สำคัญในสูตรนี้คือ มูลค่าสินทรัพย์ หมุนเวียนจะต้องมีค่ามากกว่าจำนวนหนี้สินหมุนเวียน(ระยะสั้น)ของกิจการ และต้องเป็นหลักทรัพย์ในความต้องการของตลาด โดยแนวคิดเกี่ยวกับการจัดการและความสำคัญของหลักทรัพย์ในความต้องการของตลาด สามารถสรุปได้ดังนี้
หลักทรัพย์ในความต้องการของตลาด (Marketable Securities) คือ สินทรัพย์ ที่มีสภาพคล่องสูง สามารถเปลี่ยนเป็นเงินสดได้อย่างรวดเร็ว โดยนำไปขายในตลาดได้ทันทีและแปรเปลี่ยนเป็นเงินสดได้ตามราคาที่อยู่ในตลาดหุ้นขณะนั้นๆ เช่น หุ้น พันธบัตรรัฐบาล ตั๋วเงินคลัง ตั๋วแลกเงิน ในรับฝากธนาคารพาณิชย์ เป็นต้น ซึ่งหลักทรัพย์ในความต้องการของตลาดสามารถจำแนกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ๆคือ
1. หลักทรัพย์ในความต้องการของตลาดประเภทหุ้น (Marketable equity securities) ซึ่งหมายถึงหลักทรัพย์ที่แสดงความเป็นเจ้าของทุนของกิจการ เช่น การถือครองหุ้นสามัญ หุ้นบุริมสิทธิ
2. หลักทรัพย์ในความต้องการของตลาดประเภทหนี้ (Marketable debt securities) ซึ่งหมายถึงหลักทรัพย์ที่แสดงสภาพความเป็นเจ้าหนี้ เช่น หุ้นกู้บริษัท หรือพันธบัตรรัฐบาล
ความสำคัญของหลักทรัพย์ในความต้องการของตลาดต่อกิจการ
นอกจากเงินสดแล้ว หลักทรัพย์ในความต้องการของตลาดถือเป็นสินทรัพย์หมุนเวียนที่สำคัญมากของกิจการ เพราะนอกจากเป็นตัวช่วยสร้างสภาพคล่องที่ดีให้กิจการแล้ว ยังมีความสำคัญในการถือครอง 3 ประการด้วยกันคือ
? เพื่อให้กิจกรรมการดำเนินงานของกิจการดำเนินได้อย่างต่อเนื่อง ซึ่งสินทรัพย์ในความต้องการของตลาดมีไว้เพื่อใช้จ่ายในการดำเนินกิจกรรมประจำวันของกิจการ เช่น เป็นต้นทุนในการซื้อวัตถุดิบ จ่ายค่าจ้างแรงงาน ค่าน้ำค่าไฟในการผลิต โดยสามารถนำมาแปรเปลี่ยนเป็นเงินสดได้ทันท่วงทีในกรณีกระแสเงินสดของกิจการไม่เพียงพอ เพื่อป้องกันกิจกรรมการผลิตหยุดชะงักจนเกิดผลเสียตามมา เช่น ผลิตสินค้าไม่ทัน หรือส่งสินค้าล่าช้าจนถูกปรับ เป็นต้น
? เพื่อใช้ดำเนินกิจกรรมในกรณีฉุกเฉิน หากเกิดกรณีฉุกเฉินในกิจการเช่น ไฟไหม้เครื่องจักรเสียหาย เงินสดในกิจการอาจไม่เพียงพอหรือการกู้เงินจากธนาคารเพื่อซื้อเครื่องจักรใหม่อาจใช้เวลานาน ดังนั้นหากกิจการมีสินทรัพย์หมุนเวียนที่เป็นหลักทรัพย์ในความต้องการของตลาด เช่น หุ้นหรือพันธบัตร ก็จะสามารถแปรเปลี่ยนมาเป็นเงินสดได้ในเวลาอันรวดเร็ว ทำให้สามารถแก้ไขปัญหากรณีฉุกเฉินได้อย่างทันท่วงที
? เพื่อใช้ในการลงทุน หากกิจการลงทุนในหลักทรัพย์ที่เป็นความต้องการของตลาด ไม่เพียงแต่เสริมสร้างสภาพคล่องของกิจการให้เพิ่มขึ้นเท่านั้น แต่ยังเป็นเพิ่มโอกาสสร้างผลตอบแทนให้แก่กิจการในอนาคตได้ เช่น การลงทุนซื้อหุ้นในกิจการที่คาดว่าจะมีผลประกอบการที่ดีจนราคาหุ้นสูงขึ้นในอนาคต
ดังนั้น จะเห็นได้ว่าแม้การถือครองเงินสดจะส่งผลดีต่อสภาพคล่องของกิจการ แต่การมีเงินสดมากเกินความจำเป็นอาจทำให้เกิดการสูญเสียโอกาสทางธุรกิจ เพราะเงินสดไม่ก่อให้เกิดรายได้ และผลตอบแทนต่อกิจการ ดังนั้นหากนำเงินสดไปลงทุนในหลักทรัพย์ที่เป็นความต้องการของตลาดไม่เพียงแต่เสริมภาพลักษณ์ที่ดีในส่วนสินทรัพย์ หมุนเวียนของกิจการ ยังเป็นการสร้างโอกาสในการลงทุนและได้รับผลตอบแทนที่สูงขึ้น และในขณะเดียวกันก็สามารถขายหลักทรัพย์แปรเปลี่ยนมาเป็นเงินสดได้ทันทีที่กิจการมีสภาพเงินสดขาดมือ ดังนั้นการจัดการเงินสดและหลักทรัพย์ในความต้องการของตลาดให้เหมาะสม จึงเป็นเรื่องที่ผู้บริหาร / เจ้าของกิจการจำเป็นต้องให้ความสำคัญ
On: 14 มกราคม 2021
Tagged: acid test ratio คือ ,
activity ratio คือ ,
Ap Turnover คือ ,
ar accounting ,
ar turnover ,
ar turnover คือ ,
asset turnover คือ ,
bank key คือ ,
bank key คืออะไร ,
ca คือ หุ้น ,
ca หุ้น ,
ca หุ้น คือ ,
cash ratio คือ ,
categories คือ ,
caคือ ,
cl สูง ,
collection คือ ,
collection หมาย ถึง ,
coverage ratio คือ ,
coverage คือ ,
coverage แปลว่า ,
credit analyst คือ ,
d/e คือ ,
debt equity ratio คือ ,
debt to equity ratio คือ ,
equity multiplier คือ ,
equity ratio คือ ,
financial analysis คือ ,
financial leverage คือ ,
financial ratio ,
financial ratio analysis คือ ,
financial ratio formula ,
financial ratio คือ ,
financial ratios ,
Fixed Asset Turnover คือ ,
inventory turnover ratio คือ ,
inventory turnover คือ ,
leverage ratio คือ ,
net total แปลว่า ,
Payment Period คือ ,
payout แปล ว่า ,
payout แปลว่า ,
period คือ ,
period อ่าน ว่า ,
period อ่านว่า ,
period แปล ,
period แปลว่า ,
ppe คือ บัญชี ,
Quick Ratio Current Ratio คือ ,
ratio analysis คือ ,
ratio คือ ,
ratio อ่าน ว่า ,
ratio อ่านว่า ,
ratio แปล ว่า ,
ratio แปลว่า ,
ration แปลว่า ,
roa สูตร ,
roe สูตร ,
time interest earned ratio คือ ,
total asset turnover คือ ,
total แปลว่า ,
turn over แปล ,
turn over แปลว่า ,
turnover rate คือ ,
turnover คือ ,
turnover คือ อะไร ,
turnover คืออะไร ,
turnover แปล ,
turnover แปลว่า ,
กรณีศึกษา การวิเคราะห์งบการเงิน ,
การ วิเคราะห์ งบ การเงิน แนว นอน ,
การ วิเคราะห์ สภาพ คล่อง ทาง การเงิน ,
การ วิเคราะห์ อัตราส่วน ทาง การเงิน ratio analysis ,
การวิเคราะห์งบการเงิน doc ,
การวิเคราะห์งบการเงิน ratio ,
การวิเคราะห์งบการเงิน บริษัทเสริมสุข ,
การวิเคราะห์งบการเงินแนวนอน ,
การวิเคราะห์สภาพคล่องทางการเงิน ,
การวิเคราะห์อัตราส่วน มีอะไรบ้าง ,
การวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงิน (ratio analysis) ,
ความ หมาย ของ อัตราส่วน ,
ความ หมาย อัตราส่วน ,
ความสามารถในการชําระหนี้ ,
ความหมายของอัตราส่วน ,
คิดอัตราส่วน ,
ต้นทุนทางการเงิน ภาษาอังกฤษ ,
ตัวอย่าง การ วิเคราะห์ งบ การเงิน ratio ,
ตัวอย่าง การ วิเคราะห์ อัตราส่วน ทาง การเงิน ratio ,
ตัวอย่างการวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงิน ratio analysis ,
ตารางเก็บเงิน 365 วัน excel ,
บทความ การวิเคราะห์ อัตราส่วน ทาง การเงิน ,
ประโยชน์ของการวิเคราะห์งบการเงิน ,
รวมสูตรบัญชี ,
ระยะเวลาสินค้าคงเหลือ ,
ลูกหนี้ค่าหุ้น ภาษาอังกฤษ ,
วิเคราะห์ mk ,
วิเคราะห์ ratio ,
วิเคราะห์ งบ การเงิน ratio ,
วิเคราะห์ อัตราส่วน ทาง การเงิน ,
วิเคราะห์งบการเงิน ratio ,
วิเคราะห์ทางการเงิน ,
วิเคราะห์สภาพคล่องทางการเงิน ,
วิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงิน ,
สภาพ คล่อง ทาง การเงิน ภาษา อังกฤษ ,
สภาพคล่อง ภาษาอังกฤษ ,
สภาพคล่องทางการเงิน ภาษาอังกฤษ ,
ส่วน หลุด การเงิน ,
สินทรัพย์ ภาษาอังกฤษ ,
สินทรัพย์ หมุนเวียน ภาษา อังกฤษ ,
สินทรัพย์ถาวร ภาษาอังกฤษ ,
สินทรัพย์หมุนเวียน ,
สินทรัพย์หมุนเวียน ภาษาอังกฤษ ,
สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน ภาษาอังกฤษ ,
สูตร average ,
สูตร Current Ratio คือ ,
สูตร excel งบการเงิน ,
สูตร excel สินค้า คงเหลือ ,
สูตร ratio ,
สูตร roe ,
สูตร การ วิเคราะห์ อัตราส่วน ทาง การเงิน ,
สูตร การ หา อัตราส่วน ,
สูตร การเงิน ,
สูตร การเงิน ธุรกิจ ,
สูตร วิเคราะห์ งบ การเงิน excel ,
สูตร หา Ratio ,
สูตร อัตราส่วน ทาง การเงิน financial ratio ,
สูตรการวิเคราะห์งบการเงิน excel ,
สูตรการวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงิน ,
สูตรการเงิน 15 สูตร ,
สูตรคํานวณเงินปันผล excel ,
สูตรระยะเวลาคืนทุน excel ,
สูตรวิเคราะห์งบการเงิน ,
สูตรอัตราส่วน ,
สูตรอัตราส่วนทางการเงิน financial ratio ,
หมุนเวียน ภาษาอังกฤษ ,
หุ้น ca ,
หุ้น ca คือ ,
อัตรา การ หมุนเวียน ของ สินค้า คงเหลือ ,
อัตรา หมุนเวียน ของ สินทรัพย์ รวม ,
อัตรา เฉลี่ยอุตสาหกรรม ,
อัตรา แปลว่า ,
อัตราการหมุนของสินทรัพย์ ,
อัตราการหมุนเวียนของสินทรัพย์รวม ,
อัตราส่วน การเงิน ,
อัตราส่วน ทาง การเงิน 17 อัตราส่วน ,
อัตราส่วน ทาง การเงิน excel ,
อัตราส่วน ทาง การเงิน pdf ,
อัตราส่วน ทาง การเงิน ส่วน บุคคล ,
อัตราส่วน สภาพคล่องกระแส เงินสด หมาย ถึง ,
อัตราส่วน หมาย ถึง ,
อัตราส่วน หมายถึง ,
อัตราส่วนการเงิน ,
อัตราส่วนความสามารถในการชําระหนี้ dscr ,
อัตราส่วนทางการเงิน ,
อัตราส่วนทางการเงิน excel ,
อัตราส่วนทางการเงิน pdf ,
อัตราส่วนทางการเงิน ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม ,
อัตราส่วนทางการเงิน คือ ,
อัตราส่วนทางการเงิน วิจัย ,
อัตราส่วนทางการเงิน สูตร ,
อัตราส่วนทางการเงิน หุ้น ,
อัตราส่วนทางการเงินส่วนบุคคล ,
อัตราส่วนทุนหมุนเวียน สูตร ,
อัตราส่วนวัดสภาพคล่อง ,
อัตราส่วนสภาพคล่อง ,
อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น ,
อัตราส่วนหนี้สินรวมต่อสินทรัพย์รวม ,
อัตราส่วนหมุนเวียนสินค้าคงเหลือ ,
อัตราส่วนหมุนเวียนเจ้าหนี้การค้า ,
อัตราส่วนเงินทุนหมุนเวียนเร็ว ,
อัตราส่วนเงินสดต่อการทํากําไร คือ ,
อัตราหมุนเวียนของลูกหนี้ ,
อัตราหมุนเวียนของสินค้าคงเหลือ ,
อัตราหมุนเวียนของสินทรัพย์รวม ,
ะีพืระรื ,
เรโช ,
โจทย์ แบบฝึกหัด การวิเคราะห์งบ การเงิน
รับทำบัญชี
โทร.081-931-8341 (คุณจ๋า)
Accounting in English (รับทำบัญชี ภาษาอังกฤษ)
We provide accounting services by preparing financial statements in English version. Our specialist team will collect your business's financial information in a strict, and simple manner.
We will issue useful financial statements, accurate, and efficient. You can make business decisions with confidence, and spend less time managing accounting work which is safe and reliable.
Whether you are a small or large business. Our services will be fully responsive to your needs and goals. We will support you in developing and growing your business.